ปฎิทิน
May 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
    
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
บทความ
ศาสนิกชนของศาสนาอื่นๆ
หน้าที่และบทบาทของสาวก และการปฏิบัติตนต่อสาวก
การปฏิบัติหน้าที่ของชาวพุทธ
การปฏิบัติตนในศาสนพิธี
พิธีทำบุญงานมงคลและงานอวมงคล
ข้อปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ
พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆ
กำเนิดพระพุทธรูป
พระพุทธรูปสมัยต่างๆ
พระพุทธรูปปางต่างๆ
สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ
ศาสนาอื่นๆ
พุทธสาวก พุทธสาวิกา
พระอัญญาโกณฑัญญะ
พระเจ้าปเสนทิโกศล
พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี
พระเขมาเถรี
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง
ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิสกุล
ชาดก
สุวรรณณหังสชาดก
นันทวิสาลชาดก
สังฆคุณ กับหลักธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔
พระรัตนตรัย
อริยสัจ ๔
พุทธศาสนสุภาษิต
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
สถิติ
เปิดเมื่อ17/04/2011
อัพเดท4/07/2014
ผู้เข้าชม610216
แสดงหน้า831001




งานมอบหมายครั้งที่ ๒ (ม.๓)

อ่าน 2125 | ตอบ 4

ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูป

 

ชื่อ............................................  ชั้น....................... เลขที่.............

เกิดวัน....................  ที่........ เดือน............................ พ.ศ..............

 

 

 พระไสยา วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร

 
พระไสยา วัดบวรนิเวศน์วิหาร กรุงเทพมหานคร

(1) ภาพพระพุทธรูป
(จะต้องเป็นพระพุทธรูปที่สำคัญและมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในประเทศไทย)

 


     (2) - ประวัติความเป็นมาของพระพุทธรูป..................
 

พระไสยา วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
            พระไสยาเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยมีอายูกว่า ๗๐๐ ปี แล้วเดิมประดิษฐานอยู่ที่วัดพระพายหลวง เมืองสุโขทัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชเสด็จธุดงค์ ไปสุโขทัยได้ทอดพระเนตรว่าเป็นพระปางไสยาสน์ที่มีพุทธลักษณะงามกว่าองค์อื่นๆ

            พระไสยา เป็นพระศิลาโบราณปางพระเจ้าเข้านิพพาน ครั้งราชวงศ์พระร่วงสมัยสุโขทัย องค์พระยาวจาก พระบาทถึงพระจุฬา ๖ ศอก ๑ คืบ ๕นิ้ว พระรัศมี ๑ คืบ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้อัญเชิญ มาจาก วัดพระพายหลวง เมืองสุโขทัยเก่า ตั้งแต่เมื่อครั้งยังทรงผนวชอยู่ ได้ประดิษฐานไว้ที่วัดบวรนิเวศวิหาร ในวิหารพระศาสดา มุขหลัง วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร วิหารเดียวกับพระศาสดา 


      (3) - ปาง....................
 
พระไสยา วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร     เ เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ หรือ ปางปรินิพพาน
 
 

   
     (4) - ประจำวัน...................

พระไสยา วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร  เป็นพระพุทธรูปปางประจำวันอังคาร 


     (5) - ประวัติความเป็นมาของปางดังกล่าว....................

ลักษณะพระพุทธรูปปางไสยาสน์ หรือ ปางปรินิพพาน : พระพุทธรูปอยู่ในพระอริยาบถนอนตะแคงขวา พระบาททั้งสองข้างซ้อนทับเสมอกัน พระหัตถ์ซ้ายทาบไปตามพระวรกาย พระหัตถ์ขวาตั้งขึ้นรับพระเศียรและมีพระเขนย (หมอน) รองรับ บางแบบพระเขนยวางอยู่ใต้พระกัจฉะ (รักแร้)

ความเป็นมา
          ปางไสยาสน์ หรือบางทีก็เรียก ปางปรินิพพาน เป็นพุทธประวัติตอนที่พระพุทธองค์ได้รับสั่งให้พระจุนทะเถระปูอาสนะลงที่ระหว่างต้นรังคู่หนึ่ง แล้วทรงประทับบรรมทมแบบสีหไสยา ตั้งพระทัยไม่เสด็จลุกขึ้นอีก แต่ก็ยังได้โปรดสุภัททะปริพาชกเป็นอรหันต์องค์สุดท้ายก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน บรรดาพุทธบริษัททั้งหลายพากันเศร้าโศก ร่ำไห้ คร่ำครวญถึงพระองค์ พระอานนท์และพระอนุรุทธเถระได้แสดงธรรมเพื่อปลอบโยนมหาชน พุทธศาสนิกชนเมื่อรำลึกถึงการเสด็จปรินิพพานของพระองค์ จึงได้สร้างพระพุทธรูปปางนี้ขึ้น เพื่อบูชาพระพุทธองค์
 



     (6) - ข้อคิด/ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพระพุทธรูปดังกล่าว.......................
..................................................................................................................
..................................................................................................................



หมายเหตุ     ส่งก่อนสอบ ๑ สัปดาห์



<object width='420' height='315'><param name='movie' value='http://www.youtube.com/v/mHrSV0wZb4M?version=3&amp;hl=th_TH&amp;rel=0'></param><param name='allowFullScreen' value='true'></param><param name='allowscriptaccess' value='always'></param><embed src='http://www.youtube.com/v/mHrSV0wZb4M?version=3&amp;hl=th_TH&amp;rel=0' type='application/x-shockwave-flash' width='420' height='315' allowscriptaccess='always' allowfullscreen='true'></embed></object>
 

ความคิดเห็น :
3
อ้างอิง
พระอาจารย์ครับใช้ตัวอักษรยังไง ขนาดเท่าไรครับsurprise 
 
Purich Prasongwiwat [58.9.140.xxx] เมื่อ 9/07/2011 19:55
4
อ้างอิง
^^      cheeky
 
darkness [58.9.81.xxx] เมื่อ 13/07/2011 18:08
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :